ตัวแบบการขนส่ง (Transportation Model) (7 คะแนน) บรรยาย บทที่ 13 (3 คะแนน)
Post By สุรติพงษ์ จันทร์เหลือง 5614193002 IT Smart 8
บทที่ 13 การจัดการกำลังการผลิตและความต้องการ (Capacity and Demand
Management)
** Final ส่วนคำนวณ (7 คะแนน) **
ตัวแบบการขนส่ง (Transportation Model)
เริ่มต้นจากการนำต้นทุนที่เกี่ยวข้องใส่ในตารางการขนส่งและทำการวางแผนการผลิตจากทางเลือกต้นทุนที่ต่ำที่สุดในแต่ละช่วงเวลา
ตัวอย่าง1: ตัวแบบการขนส่งของการวางแผนการดำเนินงานองค์รวม
บริษัท เบอร์รุสส์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตร่ม มีการคาดการณ์ปริมาณความต้องการกำลังการผลิตแบบปกติ แบบล่วงเวลา และแบบจ้างบริษัทภายนอก ในแต่ละไตรมาสดังตาราง
ตัวแบบการขนส่ง (Transportation Model)
เริ่มต้นจากการนำต้นทุนที่เกี่ยวข้องใส่ในตารางการขนส่งและทำการวางแผนการผลิตจากทางเลือกต้นทุนที่ต่ำที่สุดในแต่ละช่วงเวลา
ตัวอย่าง1: ตัวแบบการขนส่งของการวางแผนการดำเนินงานองค์รวม
บริษัท เบอร์รุสส์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตร่ม มีการคาดการณ์ปริมาณความต้องการกำลังการผลิตแบบปกติ แบบล่วงเวลา และแบบจ้างบริษัทภายนอก ในแต่ละไตรมาสดังตาราง
ทำการวางแผนการดำเนินงานองค์รวมให้กับบริษัท
โดยไม่มีการรับคำสั่งซื้อและส่งมอบภายหลังภายใต้เงื่อนไขต้นทุนและค่าใช้จ่ายการผลิตดังนี้
โจทย์จะให้ตารางการขนส่งมาดังรูปด้านล่าง
วิธีทำ
ขั้นที่1: ใส่กำลังการผลิตจากโจทย์ให้มาลงในตารางการขนส่ง คอลัมน์ "กำลังการผลิต"
ให้ใส่กำลังการผลิตปกติ ไตรมาส 1, 2, 3, 4 แล้วจึงใส่กำลังการผลิตล่วงเวลา ไตรมาส 1, 2, 3, 4
และใส่กำลังการผลิตจ้างบริษัทภายนอก ไตรมาส 1, 2, 3, 4

ขั้นที่1: ใส่กำลังการผลิตจากโจทย์ให้มาลงในตารางการขนส่ง คอลัมน์ "กำลังการผลิต"
ให้ใส่กำลังการผลิตปกติ ไตรมาส 1, 2, 3, 4 แล้วจึงใส่กำลังการผลิตล่วงเวลา ไตรมาส 1, 2, 3, 4
และใส่กำลังการผลิตจ้างบริษัทภายนอก ไตรมาส 1, 2, 3, 4

ขั้นที่2: ใส่จำนวนความต้องการจากโจทย์ให้มา ในแต่ละช่วงระยะเวลา บรรทัด "จำนวนความต้องการ"
ขั้นที่ 3: ใส่สินค้าลงเหลือยกมา โจทย์กำหนดให้มา
ถ้าโจทย์ไม่กำหนดแสดงว่าไม่มีสินค้าลงเหลือ (0) ใส่บรรทัด
"สินค้าคงเหลือยกมา" และคอลัมน์แรก
ขั้นที่5: ใส่ต้นทุนต่อหน่วยลงในไตรมาส 1 และ ช่วงระยะเวลา 2, 3, 4 โดยต้องบวกค่าใช้จ่ายการจัดเก็บสินค้าคงเหลือเข้าไปในต้นทุนต่อหน่วย
ทุกๆรายการ เช่น 20+3=23, 25+3=28, 28+3=31
ขั้นที่6: ใส่ต้นทุนต่อหน่วยในไตรมาส 2 ให้เริ่มที่ช่วงระยะเวลา
2 และให้กา X ทับช่วงระยะเวลา 1

ขั้นที่7: ใส่ต้นทุนต่อหน่วยในไตรมาส 3 ให้เริ่มที่ช่วงระยะเวลา
3 และให้กา X ทับช่วงระยะเวลา 1 และ ช่วงระยะเวลา 2
ขั้นที่8: ใส่ต้นทุนต่อหน่วยในไตรมาส 4 ให้เริ่มที่ช่วงระยะเวลา
4 และให้กา X ทับช่วงระยะเวลา 1, ช่วงระยะเวลา 2 และ ช่วงระยะเวลา 3


ขั้นที่9: พิจารณาจำนวนความต้องการ "ช่วงระยะเวลา 1"
ใน "ไตรมาส 1" คือ 900
มีสินค้าคงเหลือยกมา 300แสดงว่าต้องผลิตเพิ่มเท่ากับ
900-300=600 พิจารณาเลือกต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุด และมีกำลังลังการผลิตพอกับความต้องการผลิต หากยังไม่ครบให้เลือกต้นทุนต่อหน่วยต่ำสุดถัดไป
ขั้นที่10: พิจารณาจำนวนความต้องการ "ช่วงระยะเวลา 2"
คือ 1,500 ใน "ไตรมาส 1"
และ "ไตรมาส 2"

ขั้นที่11: พิจารณาจำนวนความต้องการ "ช่วงระยะเวลา 3"
คือ 1,600 ใน "ไตรมาส 1"
, "ไตรมาส 2" และ
"ไตรมาส 3"
ขั้นที่12: พิจารณาจำนวนความต้องการ "ช่วงระยะเวลา 4"
คือ 3,000 ใน "ไตรมาส 1"
, "ไตรมาส 2" , "ไตรมาส 3" และ "ไตรมาส 4"


ขั้นสุดท้าย: สรุปผลลงตาราง
คอลัมน์ "ความต้องการ" โจทย์ให้มาลอกมาใส่เลย
คอลัมน์ "ปกติ" รวมตามแถวการขนส่งที่หาได้
ไตรมาส 1 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 600+300+100=1,000
ไตรมาส 2 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 1,200
ไตรมาส 3 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 1,300
ไตรมาส 4 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 1,300
คอลัมน์ "ล่วงเวลา" รวมตามแถวการขนส่งที่หาได้
ไตรมาส 1 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 100
ไตรมาส 2 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 150
ไตรมาส 3 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ -
ไตรมาส 4 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 200
คอลัมน์ "จ้างภายนอก" รวมตามแถวการขนส่งที่หาได้
ไตรมาส 1 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ -
ไตรมาส 2 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 250
ไตรมาส 3 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 500
ไตรมาส 4 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 500
คอลัมน์ "สินค้าคงเหลือ" รวม [(ปกติ+ล่วงเวลา+จ้างภายนอก)-ความต้องการ]+คงเหลือ
ไตรมาส 1 คือ [(1000+100)-900]+300 = 500
ไตรมาส 2 คือ [(1200+150+250)-1500]+500 = 600
ไตรมาส 3 คือ [(1300+200+500)-1600]+600 = 1,000
ไตรมาส 4 คือ [(1300+200+500)-3000]+1000 = 0
บรรทัด "จำนวน" รวมตามคอลัมน์
ปกติ คือ 1000+1200+1300+1300 = 4,800
ล่วงเวลา คือ 100+150+200+200 = 650
คอลัมน์ "ความต้องการ" โจทย์ให้มาลอกมาใส่เลย
คอลัมน์ "ปกติ" รวมตามแถวการขนส่งที่หาได้
ไตรมาส 1 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 600+300+100=1,000
ไตรมาส 2 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 1,200
ไตรมาส 3 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 1,300
ไตรมาส 4 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 1,300
คอลัมน์ "ล่วงเวลา" รวมตามแถวการขนส่งที่หาได้
ไตรมาส 1 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 100
ไตรมาส 2 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 150
ไตรมาส 3 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ -
ไตรมาส 4 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 200
คอลัมน์ "จ้างภายนอก" รวมตามแถวการขนส่งที่หาได้
ไตรมาส 1 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ -
ไตรมาส 2 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 250
ไตรมาส 3 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 500
ไตรมาส 4 ทุกช่วงระยะเวลาจะได้ 500
คอลัมน์ "สินค้าคงเหลือ" รวม [(ปกติ+ล่วงเวลา+จ้างภายนอก)-ความต้องการ]+คงเหลือ
ไตรมาส 1 คือ [(1000+100)-900]+300 = 500
ไตรมาส 2 คือ [(1200+150+250)-1500]+500 = 600
ไตรมาส 3 คือ [(1300+200+500)-1600]+600 = 1,000
ไตรมาส 4 คือ [(1300+200+500)-3000]+1000 = 0
บรรทัด "จำนวน" รวมตามคอลัมน์
ปกติ คือ 1000+1200+1300+1300 = 4,800
ล่วงเวลา คือ 100+150+200+200 = 650
จ้างภายนอก คือ 250+500+500
= 1,250
สินค้าคงเหลือ คือ 500+600+1000
= 2,100

ตัวอย่าง2: ตัวแบบการขนส่งของการวางแผนการดำเนินงานองค์รวม
สินค้าลงเหลือยกมา 200 คัน (ถ้าโจทย์ไม่กำหนดให้มีค่าเป็น 0)
ต้นทุนการผลิตแบบปกติ 12 บาทต่อคัน
ต้นทุนการผลิตแบบล่วงเวลา 15 บาทต่อคัน
ต้นทุนการผลิตแบบจ้างบริษัทภายนอก 20 บาทต่อคัน
ค่าใช้จ่ายการเก็บสินค้าลงเหลือ 4 บาทต่อคันต่อไตรมาส
QT
|
ความต้องการ
|
กำลังการผลิต
ปกติ |
กำลังการผลิต
ล่วงเวลา |
กำลังการผลิต
จ้างบริษัทภายนอก |
1
|
1,200
|
1,000
|
300
|
200
|
2
|
1,500
|
1,000
|
400
|
200
|
3
|
1,900
|
1,500
|
500
|
200
|
4
|
2,800
|
1,500
|
500
|
200
|
ต้นทุนสินค้าคงคลัง (Inventory Costs) --> EOQ, ROP
ต้นทุนจัดเก็บ (Carrying or Holding Cost) : Cc , ACc --> ต้นทุนจัดเก็บสินค้าต่อปี
ต้นทุนสั่งซื้อ (Ordering Cost) : Co , ACo --> ต้นทุนสั่งซื้อบ่อย
ต้นทุนสินค้าขาด (Shortage Cost) : Cs , ACs (ไม่คิด,ไม่สอน)
ต้นทุนรายการสินค้า (Item Cost) : Ci , ACi --> ต้นทุนซื้อสินค้าบ่อยไหมต่อปี
ต้นทุนจัดเก็บ (Carrying or Holding Cost) : Cc , ACc --> ต้นทุนจัดเก็บสินค้าต่อปี
ต้นทุนสั่งซื้อ (Ordering Cost) : Co , ACo --> ต้นทุนสั่งซื้อบ่อย
ต้นทุนสินค้าขาด (Shortage Cost) : Cs , ACs (ไม่คิด,ไม่สอน)
ต้นทุนรายการสินค้า (Item Cost) : Ci , ACi --> ต้นทุนซื้อสินค้าบ่อยไหมต่อปี
การวางแผนกำลังการผลิต (Capacity
Planning) [P.288]
กำลังการผลิต (Capacity) คือความสามารถในการผลิตสูงสุดของผู้ผลิตหรือให้บริการโดยการวางแผนกำลังการผลิตสามารถในหลายระดับ ซึ่งเน้นเรื่องการวางแผนกำลังการผลิตระยะยาว
กลยุทธ์การขยายกำลังการผลิต
กำลังการผลิต (Capacity) คือความสามารถในการผลิตสูงสุดของผู้ผลิตหรือให้บริการโดยการวางแผนกำลังการผลิตสามารถในหลายระดับ ซึ่งเน้นเรื่องการวางแผนกำลังการผลิตระยะยาว
กลยุทธ์การขยายกำลังการผลิต
1.
กลยุทธ์กำลังการผลิตแบบนำ (Capacity
Lead Strategy)
เป็นกลยุทธ์ที่ขยายกำลังการผลิตตามการคาดการณ์ความต้องการของผู้บริโภคที่เติบโตขึ้น
ข้อเสีย: ACc
เป็นกลยุทธ์ที่ขยายกำลังการผลิตตามการคาดการณ์ความต้องการของผู้บริโภคที่เติบโตขึ้น
ข้อเสีย: ACc
2.
กลยุทธ์กำลังการผลิตแบบตาม (Capacity
Lag Strategy)
เป็นกลยุทธ์ที่จะเพิ่มกำลังการผลิตก็ต่อเมื่อเกิดความต้องการที่เพิ่มขึ้นแล้ว
ข้อเสีย: ACs, สูญเสียโอกาสในการขาย
เป็นกลยุทธ์ที่จะเพิ่มกำลังการผลิตก็ต่อเมื่อเกิดความต้องการที่เพิ่มขึ้นแล้ว
ข้อเสีย: ACs, สูญเสียโอกาสในการขาย
3.
กลยุทธ์การเฉลี่ยกำลังการผลิต
(Average Capacity Strategy)
เป็นกลยุทธ์ที่ขยายกำลังการผลิตที่เกิดในเวลาเดียวกันกับค่าเฉลี่ยความต้องการที่คาดการณ์ไว้
เช่น ปตท., ปูนซีเมนต์ไทย
เป็นกลยุทธ์ที่ขยายกำลังการผลิตที่เกิดในเวลาเดียวกันกับค่าเฉลี่ยความต้องการที่คาดการณ์ไว้
เช่น ปตท., ปูนซีเมนต์ไทย
กลยุทธ์การปรับกำลังการผลิตมี 7 กลยุทธ์ [P.293]
1.
กลยุทธ์การผลิตด้วยระดับอัตราคงที่
(Level Production Strategy)
ดำเนินงานผลิตด้วยอัตราการคงที่ และใช้สินค้าคงเหลือเพื่อดูดซับ การเปลี่ยนแปลงความต้องการของลูกค้า
ข้อเสีย: ACc
ดำเนินงานผลิตด้วยอัตราการคงที่ และใช้สินค้าคงเหลือเพื่อดูดซับ การเปลี่ยนแปลงความต้องการของลูกค้า
ข้อเสีย: ACc
2.
กลยุทธ์การผลิตตามความต้องการ
(Chase Production Strategy)
ดำเนินงานผลิตตามความต้องการที่เปลี่ยนแปลงของลูกค้า โดยมีการจ้างเพิ่มและปรับลดพนักงาน เพื่อจัดการกำลังการผลิตให้เท่ากับความต้องการที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงตามลำดับ
ข้อดี: ไม่มี ACc , ACs
ข้อเสีย: วางแผนยาก
ดำเนินงานผลิตตามความต้องการที่เปลี่ยนแปลงของลูกค้า โดยมีการจ้างเพิ่มและปรับลดพนักงาน เพื่อจัดการกำลังการผลิตให้เท่ากับความต้องการที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงตามลำดับ
ข้อดี: ไม่มี ACc , ACs
ข้อเสีย: วางแผนยาก
3.
กลยุทธ์การผลิตที่ระดับความต้องการสูงสุด
(Peak Demand Level Strategy)
การดำเนินกลยุทธ์การผลิตที่ระดับความต้องการสูงสุด เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ข้อดี: ใช้ในธุรกิจที่ระดับการบริการลูกค้ามีความสำคัญสูง หรือเมื่อลูกค้ายินดีที่จะจ่ายเพิ่มสำหรับพนักงานหรือเครื่องจักรที่มีความจำเป็น
ข้อเสีย: มีต้นทุนที่สูงทั้งต้นทุนแรงงานและต้นทุนเครื่องจักร
การดำเนินกลยุทธ์การผลิตที่ระดับความต้องการสูงสุด เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ข้อดี: ใช้ในธุรกิจที่ระดับการบริการลูกค้ามีความสำคัญสูง หรือเมื่อลูกค้ายินดีที่จะจ่ายเพิ่มสำหรับพนักงานหรือเครื่องจักรที่มีความจำเป็น
ข้อเสีย: มีต้นทุนที่สูงทั้งต้นทุนแรงงานและต้นทุนเครื่องจักร
4.
กลยุทธ์การใช้ล่วงเวลาและการลดเวลาทำงาน
(Overtime and Undertime Strategy)
เป็นกลยุทธ์ที่นิยมใช้เมื่อความต้องการมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนักและเป็นการชั่วคราว เพื่อลดต้นทุนในการจ้างงานหรือลดพนักงาน
ข้อเสีย: ต้นทุนของการใช้ล่วงเวลาสูงกว่าปกติ, มีแนวโน้มที่ประสิทธิภาพการทำงานต่ำกว่าปกติ, ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่เปลี่ยนแปลงมาก
เป็นกลยุทธ์ที่นิยมใช้เมื่อความต้องการมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนักและเป็นการชั่วคราว เพื่อลดต้นทุนในการจ้างงานหรือลดพนักงาน
ข้อเสีย: ต้นทุนของการใช้ล่วงเวลาสูงกว่าปกติ, มีแนวโน้มที่ประสิทธิภาพการทำงานต่ำกว่าปกติ, ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่เปลี่ยนแปลงมาก
5.
กลยุทธ์การจ้างบริษัทภายนอก (Subcontracting
Strategy)
กลยุทธ์นี้เป็นทางเลือกที่นิยมในปัจจุบัน โดยบริษัทภายนอกต้องสามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพตามที่กำหนดในช่วงเวลาที่ต้องการได้
ข้อเสีย: มีต้นทุนสูง, อาจไม่สามารถควบคุมการผลิตและคุณภาพได้มาก, มีแนวโน้มที่บริษัทที่จ้างจะเป็นคู่แข่งของบริษัทในอนาคต
กลยุทธ์นี้เป็นทางเลือกที่นิยมในปัจจุบัน โดยบริษัทภายนอกต้องสามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพตามที่กำหนดในช่วงเวลาที่ต้องการได้
ข้อเสีย: มีต้นทุนสูง, อาจไม่สามารถควบคุมการผลิตและคุณภาพได้มาก, มีแนวโน้มที่บริษัทที่จ้างจะเป็นคู่แข่งของบริษัทในอนาคต
6.
กลยุทธ์พนักงานชั่วคราว (Parttime
Workers Strategy)
นำมาใช้สำหรับงานที่ไม่ต้องการทักษะที่สูง ซึ่งส่วนมากเป็นนักเรียนนักศึกษาบุคคลที่เกษียณอายุแล้ว พนักงานชั่วคราวมีต้นทุนต่ำกว่าการจ้างเต็มเวลา
ข้อดี: มีความยืดหยุ่นสูงในการจ้างงาน, อุตสาหกรรมจานด่วนนิยมใช้พนักงานเหล่านี้
นำมาใช้สำหรับงานที่ไม่ต้องการทักษะที่สูง ซึ่งส่วนมากเป็นนักเรียนนักศึกษาบุคคลที่เกษียณอายุแล้ว พนักงานชั่วคราวมีต้นทุนต่ำกว่าการจ้างเต็มเวลา
ข้อดี: มีความยืดหยุ่นสูงในการจ้างงาน, อุตสาหกรรมจานด่วนนิยมใช้พนักงานเหล่านี้
7.
กลยุทธ์ส่งมอบสินค้าภายหลัง (Backorder
Strategy)
บริษัททำการรับคำสั่งซื้อสินค้าหรือบริการจากลูกค้าและทำการส่งมอบภายหลัง โดยคำสั่งซื้อที่สะสมไว้จะทำให้เกิดงานคั่งค้าง(Backlog) ซึ่งจะเพิ่มสูงขึ้นในช่วงที่มีความต้องการสูงและทยอยส่งมอบในช่วงความต้องการลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคำสั่งซื้อที่ส่งมอบภายหลังมีความสำคัญต่อการวางแผนดำเนินงานองค์รวมของบริษัทในการกำหนดวันส่งมอบให้กับลูกค้า
ข้อเสีย: ลูกค้าเต็มใจในการรอสินค้า ซึ่งอาจทำให้บริษัทสูญเสียโอกาสในการขายได้, ถูกนำมาใช้สำหรับรองรับความต้องการในช่วงเวลาที่จะมาถึง
บริษัททำการรับคำสั่งซื้อสินค้าหรือบริการจากลูกค้าและทำการส่งมอบภายหลัง โดยคำสั่งซื้อที่สะสมไว้จะทำให้เกิดงานคั่งค้าง(Backlog) ซึ่งจะเพิ่มสูงขึ้นในช่วงที่มีความต้องการสูงและทยอยส่งมอบในช่วงความต้องการลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคำสั่งซื้อที่ส่งมอบภายหลังมีความสำคัญต่อการวางแผนดำเนินงานองค์รวมของบริษัทในการกำหนดวันส่งมอบให้กับลูกค้า
ข้อเสีย: ลูกค้าเต็มใจในการรอสินค้า ซึ่งอาจทำให้บริษัทสูญเสียโอกาสในการขายได้, ถูกนำมาใช้สำหรับรองรับความต้องการในช่วงเวลาที่จะมาถึง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น