วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

BUS 6015 : สรุปบทที่ 12 การบริหารสินค้าคงคลัง (เฉพาะส่วนคำนวณ)

บทที่ 12 การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
** Final เฉพาะส่วนคำนวณ ***
ต้นทุนสินค้าคงคลัง (Inventory Costs) --> EOQ, ROP
·                     ต้นทุนจัดเก็บ (Carrying or Holding Cost) : Cc , ACc --> ต้นทุนจัดเก็บสินค้าต่อปี
·                     ต้นทุนสั่งซื้อ (Ordering Cost) : Co , ACo --> ต้นทุนสั่งซื้อบ่อย
·                     ต้นทุนสินค้าขาด (Shortage Cost) : Cs , ACs (ไม่คิด,ไม่สอน)
·                     ต้นทุนรายการสินค้า (Item Cost) : Ci , ACi --> ต้นทุนซื้อสินค้าบ่อยไหมต่อปี
TC  =  ACc + ACo + ACi
** ถ้าโจทย์ไม่กำหนดวันมา ให้ใช้ 300 วัน **
ปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity : EOQ)
Model1 : ตัวแบบพื้นฐาน EOQ (The Basic EOQ Model) --> TC ต่ำสุด  ** Quiz **
Model2 : ตัวแบบปริมาณการผลิต (The Production Quantity Model) ** Final **
Model3 : ตัวแบบส่วนลดปริมาณ (The Quantity Discounts Model) ** Final **
เปรียบเทียบ Model แบบต่างๆ
EOQ


Q



Model1
Basic


Model2
Production

Model3
Discount

 

Q --> Price
เทียบ Q
ต่ำสุด,สูงสุด
ACo
CoD
     Q
CoD
     Q
CoD
     Q
ACc
CcQ
     2
CcD[ 1 - d ]
      2         p
CcQ
     2
ACi
= CiD
= CiD
= CiD
TC
= ACo+ACc+ACi
= ACo+ACc+ACi
= ACo+ACc+ACi
#Order
D
   Q
D
   Q
D
   Q
MaxQ
= Q
= Q[1- d]
          p
= Q
จุดสั่งซื้อซ้ำ (Reorder Point : ROP)
ROP = dL  = (  D ) L
                      Day


จุดสั่งซื้อซ้ำ ถ้าบริษัทต้องการมีสินค้าสำรอง
ROP = dL + Safety Stock



Model1 : ตัวแบบพื้นฐาน EOQ (The Basic EOQ Model)

1.                    ระดับความต้องการ(Demand) ที่กำหนดจะต้องมีค่าแน่นอนและคงที่ตลอดระยะเวลา
แทนด้วย (ตัวดีใหญ่)
2.                    ไม่มีสินค้าขาด หรือไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า
ไม่คิด ACs และ ไม่สอน
3.                    ระยะเวลาการส่งมอบ(Lead time) แต่ละครั้งต้องคงที่
ตั้งแต่ สั่งซื้อ --> รับสินค้า แทนด้วย (ตัวแอลใหญ่)
4.                    การรับสินค้าแต่ละครั้งได้เท่ากับจำนวนที่สั่ง ไม่มีการทยอยรับสินค้า
เป็นตัวแยก Model1 ไม่ทยอยรับ กับ  Model2 ทยอยรับ
5.                    ไม่ส่วนลดปริมาณ
เป็นตัวแยก Model1 กับ  Model3 ส่วนลดปริมาณ


ตัวอย่าง
บริษัทเรามีความต้องการสินค้าคงคลัง 1,000 ชิ้นต่อปี เราสั่งครั้งละ 200 ชิ้นต่อครั้ง
คำถาม สั่ง Order กี่ครั้งต่อปี? บริษัทเรามีต้นทุนในการสั่งแต่ละครั้ง 300 บาทต่อครั้ง
คำถามหา ACo ได้เท่าไร? มีต้นทุนในการเก็บรักษาชิ้นละ 15 ต่อชิ้นต่อปี
คำถามหา ACc ได้เท่าไร? สินค้าที่ซื้ิอมาชิ้นละ 20 บาทต่อชิ้น คำถามหา ACi ได้เท่าไร?
จากโจทย์
D = 1,000 ชิ้นต่อปี ; Q = 200 ชิ้นต่อครั้ง ;
Co = 300 บาทต่อครั้ง ; Cc = 15 บาทต่อชิ้นต่อปี ; Ci = 20 บาทต่อชิ้น

#Order = 1,000  = 5 ครั้งต่อปี
                 200
หาต้นทุนการสั่งซื้อต่อปี
ACo  =  CoD   
(บาทต่อปี)
               Q
ACo = 5 x 300 = 1,500 บาทต่อปี

หาต้นทุนในการเก็บรักษา
ACc = CcQ     
(บาทต่อปี)
               2
ACc = 15 x 200  = 1,500  บาทต่อปี
                   2
หาต้นทุนรายการสินค้าต่อปี
ACi  = CiD      
(บาทต่อปี)
ACi  = 20 x 1,000 = 20,000 บาทต่อปี

ต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งหมด
TC = ACo + ACc + ACi
      = 1,500 + 1,500 + 20,00  =  23,000 บาทต่อปี

ถ้าเปลี่ยน Q = 200 เป็น Q = 500 ; คำถาม
ACo จะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ACo จะลดลง
ACc จะเพิ่มขึ้นหรือลดลง?  
ACc จะเพิ่มขึ้น
ACi  จะเพิ่มขึ้นหรือลดลง?  ACi จะคงที่
 

โจทย์ถาม ต้องหา:
1. หา Q ปริมาณสั่งซื้อ

2. หา ต้นทุนสั่งซื้อต่อปี


3. หา ต้นทุนจัดเก็บต่อปี
 

4. หา ต้นทุนรายการสินค้าต่อปี 
 

5. หา TC ผลรวมของต้นทุนบริหารสินค้าคงคลังทั้งหมด

ตัวอย่าง Model 1 EOQ Basic  ( Economic Order Quantity of Basic) 

Model2 : ตัวแบบปริมาณการผลิต (The Production Quantity Model)
p  =  อัตราการผลิต (Production Rate)
d  =  อัตราความต้องการ (Demand Rate)

 
หมายเหตุ อัตราการผลิตต้องมากกว่าหรือเท่ากับอัตราความต้องการ นั่นแสดงว่าอัตราการได้รับสินค้าต่อวันต้องมากกว่าอัตราความต้องการต่อวัน หรือ p
d
ตัวอย่าง1: Model2 ตัวแบบปริมาณการผลิต
สมมติว่าร้านอีเพนต์สโตร์มีโรงงานผลิตสี Ironcoat ด้วยตัวเอง โดยมีต้นทุนสั่งซื้อเป็นต้นทุนในการติดตั้งกระบวนการผลิตสี = 150บาท มีต้นทุนจัดเก็บ = 0.75 บาทต่อแกลลอนและมีความต้องการ 10,000 แกลลอนต่อปี โดยโรงงานทำการผลิตทั้งหมด 311 วัน และผลิตได้ 150 แกลลอนต่อวัน ต้นทุนสี 40 บาทต่อแกลลอน จงหา
1. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด
ด้วยรูปแบบปริมาณการผลิต
2. ต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งหมด
3. ระยะเวลาการผลิต (Production Time)
4. จำนวนคำสั่งซื้อต่อปี
5. ระดับสินค้าคงคลังสูงสุด
6. จุดสั่งซื้อซ้ำ ถ้าระยะเวลาส่งมอบสินค้าเท่ากับ 10 วัน

จากโจทย์
D = 10,000 แกลลอนต่อปี;
Co = 150 บาทต่อครั้ง;  Cc = 0.75 บาทต่อแกลอน;  Ci = 40 บาทต่อแกลอน
p = 150 แกลอนต่อวัน; Day = 311 วัน
วิธีทำ
หาอัตราความต้องการ
d  =   D    =  10,000   = 32.15  แกลอนต่อวัน 
       Day          311
1. หา Q ปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด สำหรับตัวแบบปริมาณการผลิต


 
Q   =  2,254.94 แกลลอน
2. หา TC ผลรวมของต้นทุนบริหารสินค้าคงคลังทั้งหมด

TC  =   ACo  +  ACc  +  ACi
หา ต้นทุนสั่งซื้อต่อปี

 ACo  =  150 x 10,000  =  665.21 บาทต่อปี            
                  2,254.94
หา ต้นทุนจัดเก็บต่อปี

ACc  =    1,691.2 [ 1 - 0.21 ]
                    2
         =   845.6(0.79)  =  668.03 บาทต่อปี
หา ต้นทุนรายการสินค้าต่อปี

ACi  = 40 x 10,000  =  400,000  บาทต่อปี

TC  =   ACo  +  ACc  +  ACi
       =   665.21 + 668.03 + 400,000
       =   401,333.24  บาทต่อปี
3. ระยะเวลาการผลิต (Production Time)
 Q   =  2,254.94   = 15.03 วันต่อครั้ง
     p           150
4. จำนวนคำสั่งซื้อต่อปี
#Order  =  D   =   10,000     =  4.43 ครั้งต่อปี
                Q        2,254.94
ระยะเวลาการสั่งซื้อ (Order Cycle Time)
  Day      =  311   = 70.2  วัน
   #Order       4.43
5. ปริมาณสินค้าคงคลังสูงสุด
MaxQ  =  Q[1- d]
                       p
            = 2,254.94(1 - 32.15)
                                    150
            = 1,782 แกลอน
 

6. จุดสั่งซื้อซ้ำ ถ้าระยะเวลาส่งมอบสินค้าเท่ากับ 10 วัน 
ROP = dL =    D (L)  =  10,000 (10) = 321.54 แกลอน
                     Day              311 
จุดสั่งซื้อซ้ำ ถ้าบริษัทต้องการมีสินค้าสำรอง 120 ชิ้น (Safety Stock : SS)
ROP = dL + SS =  321.54 + 120 = 441.54 แกลอน

ถ้าโจทย์ให้ SS เป็น % เช่น ถ้า 90% SS = 10, ถ้า 1% SS=99 

Model3 : ตัวแบบส่วนลดปริมาณ (The Quantity Discounts Model)
ราคารายการสินค้าจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณที่สั่งซื้อ

ตัวอย่าง
Model3 ตัวแบบส่วนลดปริมาณ
บริษัทเอวีเทคเป็นผู้จัดจำหน่ายโทรทัศน์เสนอขายโดยมีส่วนลดปริมาณดังในตารางที่ 1

โทรทัศน์มีต้นทุนการจัดเก็บต่อปี 190 บาท มีต้นทุนการสั่งซื้อ 2,500 บาท และมีความต้องการปีละ 200 เครื่อง ซึ่งปริมาณการสั่งซื้อนี้โทรศัพท์มีราคา 1,100 บาทต่อเครื่อง ราคานี้ถูกนำมาคำนวณต้นทุนทั้งหมด บริษัทควรพิจารณาซื้อโทรทัศน์ที่ปริมาณเท่าใดเพื่อให้มีต้นทุนสินค้าคงคลังที่ต่ำที่สุด
จากโจทย์
D = 200 เครื่องต่อปี;
Co = 2,500 บาท ; Cc = 190 บาทต่อเครื่อง ; Ci ขึ้นอยู่กับปริมาณสั่งซื้อ ; Ci = 1,100

วิธีทำ
1. หา ปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด


Q = Root [2 x 2,500 x 200 ] / 190
Q = 72.5 เครื่อง
คำนวณต้นทุนรวมที่ปริมาณการสั่งซื้อ 72.5 หน่วย โทรทัศน์มีราคา 1,100 บาทต่อเครื่อง
หา TC
Q=72.5  = ACo  + ACc  +  ACi
                    = CoD  +  CcQ +  CiD
                         Q            2
                   = 2,500 x 200  +  190 x 72.5  +  1,100 x 200
                            72.5                  2
                   = 6,897  +  6,887  +  220,000
                   = 233,784
คำนวณต้นทุนรวมที่ปริมาณการสั่งซื้อ 90 หน่วย โทรทัศน์มีราคา 900 บาทต่อเครื่อง
หา TC
Q=90   =  ACo  + ACc +  ACi
                   =  CoD  + CcQ +  CiD
                         Q          2
                   = 2,500 x 200  +  190 x 90   +  900 x 200
                             90                   2
                   = 5,555 + 8,550 + 180,000
                   = 194,105
ต้นทุนทั้งหมดของปริมาณการสั่งซื้อที่ 90 เครื่อง ต่ำกว่าต้นทุนทั้งหมดของปริมาณการสั่งซื้อที่ 72.5 เครื่อง (194,105 < 233,784) ดังนั้นบริษัทควรสั่งซื้อที่ปริมาณ 90 เครื่อง


ตัวอย่าง: Model3 เพิ่มเติม ถ้าโจทย์เปลี่ยน Co = 1,000 บาท บริษัทควรพิจารณาซื้อโทรทัศน์ที่ปริมาณเท่าใดเพื่อให้มีต้นทุนสินค้าคงคลังที่ต่ำที่สุด
วิธีทำ

1. หา ปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด
 
คำนวณ ได้ 45.88 เครื่อง อยู่ในช่วง 1-49 ทำให้ต้องหา TC ทั้ง ช่วง เพื่อเปรียบเทียบ
คำนวณต้นทุนรวมที่ปริมาณการสั่งซื้อ 45.88  หน่วย โทรทัศน์มีราคา 1,400 บาทต่อเครื่อง
หา TC
Q=45.88  = ACo  + ACc  +  ACi
                     = CoD  +  CcQ +  CiD
                         Q            2
                     = 
1,000 x 200  +  190 x 45.88  +  1,400 x 200
                            
45.88                  2
                     = 4,359.20  +  4,358.60  +  280,000
                     = 228,718
คำนวณต้นทุนรวมที่ปริมาณการสั่งซื้อ 50 หน่วย โทรทัศน์มีราคา 1,100 บาทต่อเครื่อง
หา TC
Q=50   =  ACo  + ACc +  ACi
                   =  CoD  + CcQ +  CiD
                        Q          2
                  = 1,000 x 200  +  190 x 50   +  1,100 x 200
                             50                   2
                   = 4,000 + 4,750 + 220,000
                   = 228,750
คำนวณต้นทุนรวมที่ปริมาณการสั่งซื้อ 50 หน่วย โทรทัศน์มีราคา 900 บาทต่อเครื่อง
หา TC
Q=90   =  ACo  + ACc +  ACi
                   =  CoD  + CcQ +  CiD
                         Q          2
                   = 
1,000 x 200  +  190 x 90   +  900 x 200
                             
90                   2
                   = 2,222 + 8,550 + 180,000
                   = 190,772
ต้นทุนทั้งหมดของปริมาณการสั่งซื้อที่ 90 เครื่อง ต่ำกว่าต้นทุนทั้งหมดของปริมาณการสั่งซื้อที่ 45.88 เครื่อง (190,772 < 228,750 < 228,718) ดังนั้นบริษัทควรสั่งซื้อที่ปริมาณ 90 เครื่อง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น